Page 204 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 204

198


               of Coaching and Mentoring were used to train these inexperienced UTK students. According
               Coaching technique, seniors coached those new staff while EIC teachers were accountable

               for  mentoring  process.  The  findings  revealed  that  the  coachees’  opinion  towards  the
               Coaching and Mentoring processes were at the high level.
               The  UTK  students’  competencies  in  English  language  teaching,  problem  solving  and
               cooperative working skills were significantly higher than  before at the 0.01 level. As  the

               results shown above, it can be claimed that coaching and mentoring model is  one of the
               good practices to be a model for other institutions to apply this practice to develop their
               students’ working skills effectively.

               Key words: English Camp, Coaching, Mentoring


               บทน า

                       ในศตวรรษที่ 21 ลักษณะของผู้เรียนจะมีความแตกต่างจากผู้เรียนในอดีต กล่าวคือเป็นผู้เรียนมีอิสระ
               ที่จะเลือกสิ่งที่ตนพอใจ มีลักษณะเฉพาะของตน เป็นตัวของตัวเองและสร้างสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น มีความ

               ร่วมมือและสัมพันธ์เป็นส่วนหนึ่งของทุกกิจกรรม (ไสว ฟักขาว, 2559)
               ด้วยเหตุนี้รูปแบบวิธีการด าเนินกิจกรรมการเรียนการสอนจะต้องปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับสถานการณ์และ
               ความต้องการของสังคมในปัจจุบัน นักศึกษาควรมีโอกาสฝึกฝน มีประสบการณ์ตรงในสถานประกอบการโดย
               ความร่วมมือของภาคเอกชนและภาคอุตสาหกรรมอย่างใกล้ชิด มุ่งเน้นกิจกรรมที่ก่อให้เกิดศีลธรรม จริยธรรม

               จิตส านึกที่เสียสละต่อส่วนรวม ซึ่งแนวทางของกิจกรรมดังกล่าวจะต้องเป็นกิจกรรมที่ผู้พบเห็นแล้วเกิดศรัทธา
               อยากเข้าร่วม เป็นกิจกรรมที่เป็นแบบอย่างของการประหยัด ผู้น ากิจกรรมจะต้องเป็นแบบอย่างทั้งการแต่งตัว
               และความประพฤติ เป็นกิจกรรมที่รักษาวัฒนธรรมอันดีงามของไทย มีรูปแบบการด าเนินงานตามแบบฉบับ

               ของกลุ่ม / องค์กร ตามเอกลักษณ์ของท้องถิ่นแต่ละแห่ง นอกจากนี้ ผู้เข้าร่วมแล้วรู้สึกอบอุ่น มั่นใจ เคารพใน
               สิทธิเสรีภาพของสมาชิกแต่ละคน เป็นกิจกรรมที่มีการเตรียมการ มีการก าหนดรูปแบบจุดประสงค์ชัดเจน
               กิจกรรมนั้นจะต้องไม่ลามกอนาจาร ไม่มีการเสพย์ของมึนเมา และท้ายที่สุดเป็นกิจกรรมที่ก่อให้เกิด
               ประสบการณ์ เข้าใจปัญหาสังคม มีความรู้รอบตัวและเกิดประโยชน์ต่อสังคมโดยรวม (กระทรวงศึกษาธิการ,

               2551)
                       จากแนวทางและข้อควรค านึงถึงข้างต้น พบว่า สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล คณะศิลป
               ศาสตร์ได้ด าเนินโครงการ “ค่ายภาษาอังกฤษสอนด้วยใจให้น้องเก่ง” มาทั้งสิ้น 8 ครั้ง ตั้งแต่ปีการศึกษา 2551
               โดยมีลักษณะการด าเนินงานโดยให้นักศึกษาบูรณาการความรู้ความเข้าใจด้านภาษาอังกฤษเพื่อใช้ในการ

               ด าเนินการจัดค่ายภาษาอังกฤษให้กับเยาวชนในต่างจังหวัด ซึ่งโครงการดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษา
               น าความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษไปเผยแพร่ให้เกิดประโยชน์ต่อผู้อื่นพัฒนาทักษะทางด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน
               ภาษาอังกฤษของผู้เข้าร่วมโครงการให้ดีขึ้นเพื่อสร้างสัมพันธไมตรีและความสามัคคีระหว่างผู้เข้าร่วมโครงการ
               และผู้จัดกิจกรรมเพื่อให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะของผู้จัดกิจกรรม และผู้เข้าร่วมโครงการเพื่อเป็นการ

               บริการวิชาการและเผยแพร่ชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยเพื่อปลูกฝังจริยธรรมด้านการเสียสละและจิตอาสาให้กับ
               นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ
                       จากการด าเนินการจัดค่ายภาษาอังกฤษมาทั้งสิ้น 7  ครั้ง พบว่า นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการยังขาด

               ความรู้ความเข้าใจในกระบวนการท างาน ขาดทักษะการแก้ปัญหาและการท างานร่วมกัน ด้วยเหตุนี้ สาขาวิชา
               ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากลจึงได้น ารูปแบบการจัดการความรู้ได้แก่ การสอนงาน (Coaching) และ การ
   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208   209