Page 249 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 249
243
ผลการศึกษาพบว่า ค่า Adjust R – Squared เท่ากับ 0.9 หมายถึง ตัวแปรอิสระในแบบจ าลอง
สามารถอธิบายตัวแปรตามคือการส่งออกอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยได้ร้อยละ 90 โดยผลิตภัณฑ์มวลรวมของ
ประเทศออสเตรเลีย (GDP) มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกับการส่งออก กล่าวคือ ถ้าผลิตภัณฑ์มวลรวม
ภายในประเทศเพิ่มขึ้นร้อยละ 1 จะท าให้การส่งออกยานยนต์เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.49 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่
ก าหนดไว้ ส่วนค่าสัมประสิทธิ์ของอัตราการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ เท่ากับ – 4.60 หมายความว่า ถ้า
อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ (บาท) เพิ่มขึ้นร้อยละ 1 จะท าให้การส่งออกยานยนต์ลดลงร้อยละ
4.60 ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ก าหนดไว้
โดยความสัมพันธ์ระหว่างผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของออสเตรเลียกับการส่งออกยานยนต์
ของไทยเป็นไปตามสมมติฐานที่ก าหนดไว้ สอดคล้องกับการศึกษาของของรณิสร แฉ่งเจริญ (2552) ทิชากร
เกษรบัว (2555) ส าหรับการศึกษาของพอพล อุยยานนท์ (2554) ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างอัตราแลกเปลี่ยน
และการส่งออกยานยนต์ไม่สอดคล้องกับสมมติฐาน ส่วนหนึ่งเป็นเพราะมีข้อจ ากัดด้านระยะเวลาหาตัวแปร ท า
ให้ตัวแปรในแบบจ าลองน้อยไป
บรรณานุกรม
กรมศุลกากร. 2559. สถิติการส่งออกยานยนต์ของประเทศไทย.
ทิชากร เกษรบัว. 2555 “ปัจจัยที่มีผลต่อการส่งออกในอุตสาหกรรมรถยนต์และการพยากรณ์” วิทยานิพนธ์
ปริญญาเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
พอพล อุยยานนท์. 2554. “การศึกษาปัจจัยก าหนดอุปสงค์ต่อรถยนต์ในประเทศไทย” มหาวิทยาลัยธุรกิจ
บัณฑิตณ์.
รณิสร แฉ่งเจริญ. 2552. “ผลกระทบของการเปิดเขตการค้าเสรีระหว่างไทยและออสเตรเลียที่มีต่ออัตราการ
เจริญเติบโตของมูลค่าการส่งออกยานยนต์ของไทยไปออสเตรเลีย” เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สืบค้นเมื่อ 10 พฤศจิกายน 2559. https://data.oecd.org/gdp/gross-domestic-product-gdp.htm
สืบค้นเมื่อ 16 พฤศจิกายน 2559. www.customs.go.th/wps/wcm/connect/Library
สืบค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2559. http://www2.ops3.moc.go.th