Page 273 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 273

267


                       ส าหรับขั้นตอนในการจัดการความรู้เพื่อหาแนวปฏิบัติที่ดีของสถาบันเทคโนโลยีการบินนั้นมี
               กระบวนการที่ส าคัญ 4 ตอนดังนี้

                       1. ขั้นตอนแต่งตั้งคณะกรรมการจัดการความรู้ด้านการวิจัย ซึ่งผู้อ านวยการสถาบันเทคโนโลยีการบิน
               ได้ก าหนดและแต่งตั้งผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ ซึ่งก็ได้แก่ คณาจารย์ในสถาบันเทคโนโลยีการบิน
                       2. ก าหนดเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ในการจัดการความรู้ด้านการวิจัย ทั้งนี้เพื่อให้ได้แนวทางและ
               ขอบเขตของการด าเนินการจัดการความรู้เพื่อหาแนวปฏิบัติที่ดีในการเขียนงานวิจัยแบบผสมผสาน

                       3. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อหาแนวปฏิบัติที่ดีซึ่งกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในงานวิจัยแบบ
               ผสมผสานที่ทางคณะกรรมการก าหนดขึ้นมีจ านวน 10  ครั้ง เพื่อให้ได้แนวปฏิบัติที่ดี โดยสามารถน าไปใช้
               ประโยชน์ในการเขียนงานวิจัยแบบผสมผสานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
                       4. การจัดเก็บความรู้ การเผยแพร่และการน าไปใช้ เป็นขั้นตอนที่หลังจากได้ด าเนินการแลกเปลี่ยน

               เรียนรู้ในแต่ละครั้งแล้วข้อมูลที่ได้จากการแลกเปลี่ยนหรือความรู้ใด ๆ ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนจะต้องมีการ
               จัดเก็บอย่างเป็นระบบ โดยแบ่งการจัดเก็บเป็นภายในสถาบัน โดยการจัดท าแฟ้มรายงานการจัดการความรู้
               และเผยแพร่สู่สาธารณชนโดยผ่านเว็บไซต์ของทางสถาบัน นอกจากนี้ได้มีการจัดท าเป็นคู่มือการจัดการความรู้
               เพื่อเป็นการเผยแพร่และให้คณาจารย์รวมทั้งผู้ที่มีความสนใจการศึกษาวิจัยแบบผสมผสาน ได้น าความรู้ที่ได้

               จากการจัดการความรู้ไปใช้ในการด าเนินการตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของตนเองและขององค์การ ได้
               ตามความต้องการต่อไป

                       เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการความรู้
                       เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการความรู้ ประกอบไปด้วย ผู้แลกเปลี่ยนการเรียนรู้ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ส าคัญ
               ในการวิจัย การจัดการความรู้ผู้แลกเปลี่ยนได้ท าการศึกษาข้อมูลจากผู้ที่เคยมีประสบการณ์ในการท างานวิจัย
               ทั้งแบบเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณโดยให้ผู้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แต่ละท่านสลับกันให้ข้อมูลเพื่อ

               แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในแต่ละครั้ง ประธานในการจัดการความรู้มีแนวค าถาม (Interview  Guide)  เพื่อใช้เป็น
               แนวทางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ด้วยการสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการ และผู้วิจัยมีการใช้อุปกรณ์ช่วยเก็บ
               รวบรวมข้อมูล ได้แก่ สมุดบันทึก ปากกา แฟ้มเก็บข้อมูล เครื่องบันทึกเสียง และกล้องถ่ายรูปผู้รับผิดชอบการ
               จัดการกิจกรรมการเรียนรู้ขออนุญาต ผู้เข้าร่วมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อบันทึกเสียงการสนทนาในแต่ละครั้ง

               ด้วยเครื่องบันทึกเสียง
                       ประเด็นตัวอย่างในการแลกเปลี่ยนความรู้
                       - การกล่าวถึงประสบการณ์ที่ผ่านมาในการท าวิจัยผสมผสาน

                       - การบอกถึงจุดเด่นของงานวิจัยเชิงปริมาณและงานวิจัยเชิงคุณภาพ
                       - ความสามารถในการน าสิ่งที่ได้จากการท าวิจัยแบบผสมผสานวิธีมาสร้างเป็นความรู้ความจริงที่
               สมบูรณ์ส าหรับใช้ในการปรับเปลี่ยนทฤษฎีหรือการปฏิบัติงาน
                       - ขั้นตอนในการด าเนินงานวิจัยแบบผสมผสาน
                       - การออกแบบงานวิจัยแบบผสมผสาน

                       - ข้อค านึงถึงส าหรับการท าวิจัยผสมผสาน
                       ขอบเขตของการด าเนินการจัดการความรู้
                       ขอบเขตด้านประชากร การด าเนินการจัดการความรู้งานวิจัยแบบผสมผสานในครั้งนี้ขอบเขตของ

               ประชากรได้แก่ คณาจารย์ในหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการบิน สถาบันเทคโนโลยีการ
               บิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก จ านวน 11 คน
   268   269   270   271   272   273   274   275   276   277   278