Page 274 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 274

268


                       ขอบเขตด้านเนื้อหา มุ่งเน้นที่จะศึกษาศึกษากระบวนการจัดการความรู้การสร้างงานวิจัยแบบ
               ผสมผสาน และสามารถน ารูปแบบแนวปฏิบัติที่ดีไปประยุกต์ใช้ในการท าวิจัยต่อไป


               ผลและอภิปรายผลการด าเนินงาน
                       แนวทางและความเหมาะสมในการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ

                       1. การตั้งชื่อเรื่องควรให้ครอบคลุมตัวแปรที่ต้องการศึกษา จะท าให้เกิดความน่าสนใจในงานวิจัย
                       2. การตั้งวัตถุประสงค์ควรมีความครอบคลุมและไม่มากจนเกินไป เนื่องจากการศึกษาวิจัยทุก
               เรื่องจะมีข้อจ ากัดที่ส าคัญด้านเวลา ดังนั้นการตั้งวัตถุประสงค์ควรจะพิจารณาถึงผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
               และสามารถน ารายงานผลการวิจัยไปใช้ได้ทันตามความต้องการขององค์การ ชุมชน และสังคม
                       3. นักวิจัยต้องมีความสามารถในการแปลความหมายของสถิติที่ค านวณได้ นอกจากนี้นักวิจัย

               ยังจ าเป็นต้องมีความเข้าใจพื้นฐานของสถิติที่ใช้ในการศึกษาวิจัยและเลือกใช้ให้ถูกต้องและมีความเหมาะสม
                       4. ภาษาที่ใช้ในการสรุปผลต้องเป็นภาษาทางวิชาการแต่เทคนิคในการเขียนรายงานสรุป
               ผลการวิจัยต้องเข้าใจง่ายเพราะผู้อ่านงานวิจัยมีความหลากหลายและพื้นฐานไม่เท่ากัน


                       การวางกรอบแนวคิดในการวิจัยและการรวบรวมเอกสาร
                       1. นักวิจัยต้องทบทวนเอกสารที่เป็นทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้องให้เพียงพอ เพื่อให้สามารถน า
               ทฤษฎีที่ศึกษามาใช้ในการก าหนดแนวทางในการศึกษาวิจัยเพื่อให้เกิดความเหมาะสมและสอดคล้องกับ

               ประเด็นวิจัยที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา
                       2. นักวิจัยต้องพิจารณาถึงชื่อเรื่อง วัตถุประสงค์ในการศึกษา แล้วด าเนินการศึกษาเอกสารที่
               เกี่ยวข้องและน าข้อค้นพบมาพัฒนาในการสร้างกรอบแนวคิดในการวิจัย
                       3. หลักส าคัญในการรวบรวมเอกสารคือ ความทันสมัยของข้อมูล ซึ่งข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา
               จะต้องไม่นานจนเกินไปโดยปกติไม่ควรเกิน 5 ปีและแหล่งข้อมูลจะต้องมีความน่าเชื่อถือ มาจากแหล่งที่ได้รับ

               การยอมรับและสามารถอ้างอิงได้

                       วิธีการวิจัยและการเก็บรวบรวมข้อมูล
                       1. นักวิจัยต้องปฏิบัติและให้ความส าคัญกับระเบียบวิธีวิจัยด้านสังคมศาสตร์อย่างเคร่งครัด

                       2. นักวิจัยต้องเลือกใช้สถิติที่มีความเหมาะสม เพื่อให้สามารถวิเคราะห์และแปลผลจากการ
               ศึกษาวิจัยได้อย่างครบถ้วน และเป็นไปตามหลักสถิติ
                       3. การเลือกเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยต้องมีความสอดคล้องกับ

               วัตถุประสงค์และผลการวิจัยที่ต้องการ เช่นงานวิจัยบางประเภทต้องใช้แบบสอบถามหรืองานวิจัยบางประเภท
               ต้องใช้แบบทดสอบในการเก็บรวบรวมข้อมูล
                       4. นักวิจัยจะต้องสร้างความน่าเชื่อถือของงานวิจัยโดยการ หาค่าความเที่ยงตรงของเครื่องมือ
               และค่าความเชื่อมันเพื่อสร้างการยอมรับจากนักวิจัยท่านอื่น และเป็นไปตามหลักการของการศึกษาวิจัย


                       การวิเคราะห์และการสรุปผลเพื่อสร้างองค์ความรู้
                       1. การวิเคราะห์ข้อมูลนักวิจัยควรวิเคราะห์ข้อมูลให้ครบถ้วนตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
                       2. การวิเคราะห์ข้อมูลนักวิจัยควรกระท าด้วยความระมัดระวัง เพื่อป้องกันความผิดพลาด

                       3. การสรุปและอภิปรายผล นักวิจัยควรเขียนให้กระชับ อ่านเข้าใจง่าย เพื่อให้ง่ายต่อการน า
   269   270   271   272   273   274   275   276   277   278   279