Page 29 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 29

23


               มหาวิทยาลัยและผู้น าชุมชนรวมถึงการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ของโครงการฯ

                      2. การด าเนินงาน
                      2.1 ด าเนินกิจกรรมโครงการบริการวิชาการทางด้านส่งเสริมทักษะและอบรมอาชีพทางการเพาะเลี้ยงสัตว์

               น้ า โดยร่วมกันระหว่างอาจารย์ นักศึกษาในสาขาเทคโนโลยีการประมงและชุมชนบ่อหิน
                      2.2 ด าเนินกิจกรรมโครงการบริการวิชาการทางด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารส าหรับกลุ่มวิสาหกิจ
               ชุมชน โดยร่วมกันระหว่างอาจารย์ นักศึกษาในสาขาอุตสาหกรรมอาหารและผลิตภัณฑ์ประมงและชุมชนบ่อหิน

                      3. การประเมินผล
                      ติดตามสรุปผลกิจกรรมทั้ง 2 กิจกรรมและรายงานผลต่อคณะกรรมการบริการวิชาการของคณะฯ  และ

               ด าเนินกิจกรรมการเสวนารายงานผลการด าเนินงานสู่การปรับปรุงและพัฒนาแผนการด าเนินงานร่วมกับชุมชน
               รวมถึงประเมินผลความพึงพอใจ ติดตามผลการบูรณาการบริการวิชาการกับการเรียนการสอน การวิจัย และ
               รายงานผลการปฏิบัติงาน

                      4. น าผลมาปรับปรุงการท างาน
                      คณะกรรมการประเมินความส าเร็จโครงการบริการวิชาการ จัดท าสรุปและรายงานผลความส าเร็จต่อ

               คณะกรรมการประจ าคณะ

               ผลและอภิปรายผลการด าเนินงาน

                       1. การก าหนดกลุ่มเป้าหมาย
                       ก าหนดกลุ่มเป้าหมาย โดยการสอบถามจากนายกองค์การบริหารส่วนต าบลบ่อหิน อ าเภอสิเกา จังหวัด
               ตรัง พบว่า กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมีด้วยกันหลายกลุ่ม แต่กลุ่มที่มีความเข้มแข็งและเหมาะสมกับความรู้ความสามารถ
               ของอาจารย์และสาขาต่างๆ ที่คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมงจัดการเรียนการสอนอยู่ คือ กลุ่ม

               วิสาหกิจเลี้ยงปลาในกระชังบ้านปากคลอง  และกลุ่มแม่บ้านวิสาหกิจชุมชนบ้านปากคลอง ต าบลบ่อหิน อ าเภอสิ
               เกา จังหวัดตรัง
                       2. การก าหนดประเด็นความรู้

                       จากการส ารวจความต้องการของกลุ่มวิสาหกิจเลี้ยงปลาในกระชังบ้านปากคลอง  และกลุ่มแม่บ้าน
               วิสาหกิจชุมชนบ้านปากคลอง ต าบลบ่อหิน อ าเภอสิเกา จังหวัดตรัง พบว่า สมาชิกในชุมชนต้องการให้คณะ
               วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมงให้ความรู้และฝึกทักษะทางด้านต่างๆ ดังนี้
                       2.1 การส่งเสริมด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจเลี้ยงปลาในกระชังบ้านปากคลอง ต้องการ

               เลี้ยงหอยแมลงภู่ ซึ่งในอดีตการเลี้ยงหอยแมลงภู่เป็นที่นิยมเลี้ยงกันในหลายครัวเรือน เนื่องจากเลี้ยงง่าย ไม่ยุ่งยาก
               และสามารถเลี้ยงร่วมกับสัตว์น้ าชนิดอื่นได้ แต่ได้หยุดชะงักไปเนื่องจากเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ สึนามิ ซึ่งสร้าง
               ความเสียหายที่ส าคัญแก่การประกอบอาชีพทางการประมง สมาชิกกลุ่มจึงต้องการมีความรู้และฝึกทักษะด้านการ
               เลี้ยงหอยแมลงภู่เพื่อเป็นการประกอบอาชีพเสริม

                       2.2  การส่งเสริมด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร สมาชิกกลุ่มแม่บ้านวิสาหกิจชุมชนบ้านปากคลอง
               ต้องการพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบปลาให้มีรสชาติที่หลากหลาย ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ต่อเนื่องจากโครงการบริการ
               วิชาการปีที่ผ่านมา โดยสาขาอุตสาหกรรมอาหารได้ให้ความรู้และฝึกทักษะแก่กลุ่มด้านการแปรรูปข้าวเกรียบปลา
               ปลาหยอง และนัตเก็ตปลา ผลิตภัณฑ์ทั้ง 3  ชนิด ดังกล่าว สามารถน าไปจ าหน่ายให้แก่ผู้บริโภคทั้งในและนอก
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34