Page 30 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 30
24
ชุมชนได้ โดยเฉพาะข้าวเกรียบปลาที่เป็นที่รู้จักและเป็นของฝากจากชุมชนบ้านปากคลองได้ ดังนั้น สมาชิกกลุ่มจึง
สนใจพัฒนาความหลากหลายของรสชาติข้าวเกรียบปลาโดยการใช้พืชหรือสมุนไพรที่เป็นประโยชน์ต่อผู้บริโภค
3. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง ได้จัดโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ณ ที่ท าการกลุ่ม
แม่บ้านวิสาหกิจชุมชนบ้านปากคลอง ต าบลบ่อหิน อ าเภอสิเกา จังหวัดตรัง ซึ่งจากการก าหนดประเด็นความรู้ของ
แต่ละชุมชน คณะฯ ได้ส่งเสริม สนับสนุนให้อาจารย์ที่มีประสบการณ์ในการด าเนินงานทั้งระดับนโยบายและผู้
ปฏิบัติ จัดท าโครงการบริการวิชาการ เพื่อถ่ายทอดความรู้ เทคนิควิธีการแก่ผู้ร่วมกิจกรรม โดยการวางแผนการ
บริการวิชาการเพื่อให้เกิดการพัฒนาไปสู่การบูรณาการการเรียนการสอนและงานวิจัยในสาขาต่างๆ โดยแบ่งเป็น
กิจกรรมย่อย ดังนี้
3.1 กิจกรรมโครงการบริการวิชาการทางด้านส่งเสริมทักษะและอบรมอาชีพทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า ใน
วันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2559 จัดโดยสาขาเทคโนโลยีการประมง ได้ผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ดังนี้
3.1.1 ผลผลิต จ านวนผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 30 คน
3.1.2 ผลลัพธ์ สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจเลี้ยงปลาในกระชังบ้านปากคลอง ได้พัฒนาความรู้และทักษะ
ด้านการเลี้ยงหอยแมลงภู่ ซึ่งกลุ่มเป้าหมายเคยเลี้ยงมาก่อนแต่ยังขาดความรู้ในการเลี้ยง ภายหลังจากการอบรม
เชิงปฏิบัติการ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนได้ด าเนินการเลี้ยงหอยแมลงภู่แบบแขวน ซึ่งได้น าไปแขวนบริเวณกระชังปลา
กะพง เป็นการสร้างรายได้เสริมให้กับสมาชิกกลุ่ม และเป็นการเพิ่มความหลากหลายของผลผลิตสัตว์น้ าแก่ผู้บริโภค
ด้วย นอกจากนี้ กลุ่มเป้าหมายยังได้รับความรู้เกี่ยวกับการผลิตอาหารปลากะพงต้นทุนต่ า เพื่อลดต้นทุนในการ
เลี้ยงปลากะพง
3.1.3 การบูรณาการกับการเรียนการสอนและงานวิจัย น าไปใช้ในรายวิชา ปฏิบัติการทาง
เพาะเลี้ยงสัตว์น้ าชายฝั่ง และการบริหารธุรกิจประมงขนาดกลางและขนาดย่อม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
และบูรณาการกับงานวิจัยเรื่องการเลี้ยงปลากะพงขาวร่วมกับหอยแมลงภู่แบบผสมผสานในบ่อดิน และการทดลอง
ใช้กากเนื้อเมล็ดในปาล์มน้ ามันหมักเพื่อลดต้นทุนค่าอาหารส าหรับการเลี้ยงปลากะพงขาว
ภาพที่ 2 กิจกรรมการให้บริการวิชาการด้านส่งเสริมทักษะและอบรมอาชีพทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า