Page 25 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 25
19
-รสชาติยังขาดหวาน
-ชิ้นเล็กไป
ราคา
-ราคาอยู่ในเกณฑ์เหมาะสม
ช่องทางการจัดจ าหน่าย
-ควรจัดบูธเพื่อให้ลูกค้าชิมผลิตภัณฑ์
-ควรมีการจัดจ าหน่ายตามร้านค้าทั่วไป
-หาซื้อยาก
-ควรจัดส่งตามร้านค้าปลีก/มินิมาร์ท
-ควรส่งขายให้ทั่วพื้นที่
การส่งเสริมการขาย
-เน้นส่งเสริมโดยจุดเด่นเพื่อสุขภาพ
-ควรมีการลดราคาเมื่อมีการซื้อเยอะ
สรุป
มรดกวัฒนธรรมอาหาร ภูมิปัญญา และความหลากหลายของท้องถิ่น ท าให้ผลิตภัณฑ์อาหารชุมชนมีมิติ
เอกลักษณ์ มีเสน่ห์ ผลิตภัณฑ์อาหารท้องถิ่นควรประกอบไปกับการร่วมแรงร่วมใจกันพัฒนาและสร้างระบบ
คุณภาพ และการบริหารจัดการอย่างต่อเนื่องในแต่ละชุมชนเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
บรรณานุกรม
กรมพัฒนาชุมชน. 2556. โครงการสร้างนักธุรกิจ OTOP. กรุงเทพฯ : CHATRA (BIG IDEAS COME TO LIFE).
ชาญยุทธ บุ้งทอง จินดารัตน์ ปีมณี และพีรวัฒน์ ไชยล้อม. 2555. ความสัมพันธ์ระหว่างการประชาสัมพันธ์
เชิงกลยุทธ์ ศักยภาพการแข่งขันทางการตลาด และผลการด าเนินงานของโรงพยาบาลเอกชน.วารสารการ
บัญชีและการจัดการ, 4(1): 57-68.
ชัชวาลย์ ทัตศิวัช. (มปป). การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research–
PAR) :มิติใหม่ของรูปแบบวิธีวิจัยเพื่อการพัฒนาชุมชนระดับท้องถิ่น. [Online]. Available:
http://www.polpacon7.ru.ac.th/download/article/การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม.doc.
[2558, พฤศจิกายน 10].
พรเทพ ผดุงถิ่น. 2552. การวิเคราะห์แนวทางพัฒนาประสิทธิภาพการด าเนินงานด้านโลจิสติกส์.
กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พัชสิรี ชมพูค า. 2553. องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แมคกรอฮิล.
เรวัฒน์ ชาตรีวิศิษฎ์ ศิรินทร ภู่จินดา อาทิตา ชูตระกูล นันท์นภัส จินานุรักษ์ พิมพ์ชนก พ่วงกระแส และ
รวีโรจน์ อนันตธนาชัย. 2552. การศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารกับภาวการณ์มีอายุยืนของผู้สูง
อายุไทย.วารสารวิจัย มสด. 5(1): 9–12.