Page 24 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 24

18


               เป้าหมายคุณภาพเฉพาะตามที่ก าหนด และจะต้องปฏิบัติตามที่ตกลงกันไว้ เพื่อสร้างหลักประกันคุณภาพ จึงเป็น
               ขั้นตอนที่ส าคัญในการสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภคว่าจะได้สินค้าที่ปลอดภัยมีความสม่ าเสมอในคุณภาพและ

               รสชาติ อันจะน าไปสู่การปรับปรุง การอนุรักษ์ และการผลิตซ้ าของทรัพยากรในท้องถิ่นต่อไป

                       ขั้นตอนที่ 3 การสร้างผลตอบแทน (Product renumeration)เป็นขั้นตอนที่ผู้บริโภคจ่ายค่าตอบแทน
               ต่อผู้ผลิตโดยการซื้อสินค้าของชุมชน ทั้งนี้ผลตอบแทนที่จ่ายจะต้องครอบคลุมต้นทุนการผลิตของสินค้า แต่สินค้า
               ชุมชนโดยส่วนใหญ่มีต้นทุนสูง ดังนั้นจึงต้องมีการสร้างตลาดสินค้ารองรับเพิ่มโอกาสให้ผู้ผลิตพบผู้บริโภคมากขึ้น
               เช่นผ่านการท่องเที่ยวในทุกจุดที่นักท่องเที่ยวได้สัมผัส  (Touch  point)  เช่น  ร้านอาหาร  โรงแรม  จุดแวะพัก

               ระหว่างทางและอื่นๆ เพื่อสร้างความแข็งแกร่งในชุมชนในท้องถิ่นและสร้างความนิยมจากในท้องถิ่น

                       ขั้นตอนที่ 4 การอนุรักษ์และการผลิตทรัพยากรของท้องถิ่น (Reproduction of local resources)
               เป็นการสร้างระบบให้เกิดการพัฒนาเพิ่มคุณค่า การผลิตทรัพยากรของท้องถิ่นทดแทนอย่างถนอมรักษา เพื่อให้
               สามารถผลิตสินค้าซ้ า มีจ านวนที่เพียงพอต่อการจ าหน่ายอย่างต่อเนื่อง เกิดความยั่งยืนในระยะยาวในท้องถิ่น


               ผลและอภิปรายผลการด าเนินงาน
               สรุปผลการประเมินข้าวเกรียบจากแป้งสาคูจากผู้บริโภคในชุมชน


















               สรุปปัญหาและข้อเสนอแนะการพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบจากแป้งสาคู
               ผลิตภัณฑ์

                       -ควรมีน้ าจิ้มเพื่อเพิ่มความเข้มข้นของรสชาติ
                       -รสชาติจืดไปต้องให้เข้มกว่านี้
                       -ควรคลุกเคล้าเครื่องปรุงให้เข้ากันเพราะเวลาที่น าไปทอดรสชาติจะได้เหมือนกัน

                       -สร้างรสชาติให้กลมกล่อม รสชาติอ่อนไป
                       -ควรมีรสชาติที่แตกต่าง
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29