Page 17 - schoolmentor2-67
P. 17
16
ิ
จากภาพที่ 1 กลไกของเกมที่ใช้แนวคิดเกมมฟิเคชัน มีองค์ประกอบ 5 ขั้นตอน ดังนี้
1. คะแนนสะสม (Points) เป็นสิ่งที่ใช้วัดความส าเร็จจากการใช้งาน ซึ่งคะแนนมักจะถูก
ก าหนดไว้ในการท ากิจกรรมต่าง ๆ และจะสะสมไปเรื่อย ๆ ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
ึ
2. เหรียญตราสัญลักษณ์ (Badges) เป็นเสมือนของที่บ่งบอกถงความพิเศษบางอย่าง ซึ่งต้อง
ิ
ท าตามกิจกรรมพเศษที่ก าหดนไว้ หรือมีเงื่อนไขพเศษในการได้มา เช่น Badge ที่ได้รับเมื่อมีการ
ิ
Check-in ใน Foursquare
ิ่
3. ระดับขั้น (Levels) พบเห็นได้ในเกมทุกเกม คือ มีระดับความยากที่เพมขึ้นเรื่อย ๆ เพื่อให้
ผู้เรียนรู้สึกว่าต้องใช้ความพยายามในการเอาชนะ และเมื่อชนะได้ จะเกิดความภูมิใจ ซึ่งเป็นเหมือน
ความส าเร็จเล็ก ๆ ในการเล่น
ั
ั
4. ตารางอนดับ (Leaderboard) เป็นการจัดอนดับจากคะแนนสะสมในช่วงเวลาหนึ่ง เพอ
ื่
ั
กระตุ้นให้เกิดการแข่งขันขึ้นมาระหว่างผู้เล่นภายในเกม ตัวอย่างของ Foursquare คือ การจัดอนดับ
ตามคะแนน Check-in ของแต่ละเมือง
5. การถูกท้าทาย (Challenges) มักจะเป็นอะไรที่ยากเกินกว่าจะท าคนเดียวได้ คล้ายกับ
การเป็นการชักชวนกลุ่มเพื่อนให้มาท ากิจกรรมบางอย่าง
ขั้นตอนการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวทางเกมมิฟิเคชัน 6 ขั้นตอน ดังนี้
ภาพที่ 2 ขั้นตอนการน าเกมมาใช้กับการศึกษา
คู่มือกิจกรรมการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบเกมมิฟิเคชันเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการแก้ปัญหาและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน