Page 39 - 5-7meeting
P. 39

๓๒






                                                                                ื่
                      ในระเบียบวาระการประชุม โดยมักก าหนดเวลาในการส่งเรื่องด้วย เพอความสะดวกในการเตรียมการจัด
                                                                     ิ
                      ประชุม เมื่อได้รับเรื่องทั้งหมดแล้ว เลขานุการจะเป็นผู้พจารณาจัดเรียงล าดับตามความส าคัญ โดยทั่วไป
                                                          ื่
                      จะให้เรื่องเร่งด่วนเป็นล าดับแรก และเรื่องอน ๆ ที่ส าคัญรองลงมาเป็นล าดับต่อ ๆ ไป และเลขานุการต้อง
                      พิจารณาว่าแต่ละวาระควรใช้เวลาประมาณเท่าใด เพื่อจะได้สามารถจัดวาระให้เหมาะสมกับระยะเวลาการ

                                                                          ิ
                      ประชุม จึงจะนับเป็นการจัดวาระการประชุมที่ดี หากมีเรื่องพจารณามากเกินกว่าระยะเวลาการประชุม
                      ที่ก าหนดไว้ ก็จะเลือกเรื่องที่ไม่เร่งด่วนออก และจัดไว้ในระเบียบวาระการประชุมครั้งต่อไป แต่ควรต้อง

                      ได้รับความเห็นชอบจากประธานด้วย

                                การจัดส่งระเบียบวาระการประชุมให้ผู้เข้าประชุม ควรจัดส่งล่วงหน้าอย่างน้อย ๓วัน

                                        ิ
                        ื่
                      เพอผู้เข้าประชุมได้พจารณารายละเอยดของเรื่องที่ประชุม และหากมีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องนั้น จะได้
                                                      ี
                      จัดเตรียมข้อมูลส าหรับการน าเสนอที่ประชุมต่อไปด้วย ในกรณีเร่งด่วนอาจส่งระเบียบวาระการประชุม
                      ให้ผู้เข้าประชุมพจารณาล่วงหน้าไม่ทัน ให้ใช้วิธีการส่งไลน์ใบสรุประเบียบวาระการประชุมให้ผู้เข้าประชุม
                                    ิ
                      ทราบล่วงหน้า

                             การน าเสนอเรื่องต่อที่ประชุมในวันที่มีการประชุม หากผู้เข้าประชุม มีเรื่องที่ส าคัญ และมีความ

                      จ าเป็นเร่งด่วน ให้น าเสนอในการประชุมในครั้งนั้นได้ ถ้ามีเอกสารประกอบเรื่องที่น าเสนอให้จัดท าเอกสาร
                      ตามจ านวนผู้เข้าประชุมและน ามามอบให้ฝ่ายเลขานุการก่อนการประชุมเพอแจกเอกสารดังกล่าวให้ผู้เข้า
                                                                                    ื่
                      ประชุม


                                   การจัดท ารายงานการประชุม (รายงานการประชุม ๒๕๖๐ จากเว็บไซต์

                      http://www.eto.ku.ac.th/knowledge/๒๕๕๕/report_write.pdf)  กล่าวไว้โดยสรุปดังนี้
                                   รายงานการประชุม มีความหมายวา รายละเอยดหรือสาระของการประชุมที่จดไวเป็น
                                                                          ี
                      ทางการ (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542  น า 953) และตามระเบียบส านัก
                                                                             ห
                      นายกรัฐมนตรี  ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 ใหความหมายไววา คือ การบันทึกความคิดเห็นของ
                      ผู้มาประชุม ผู้เข้าร่วมประชุม และมติของที่ประชุมไวเป็นหลักฐาน จากความหมายดังกล่าว จะเห็นไดวา
                      รายงานการประชุมที่ถูกตองสมบูรณนั้น จะตองมีการบันทึกความคิดเห็นทั้งของผู้มาประชุมและผู้เข้าร่วม

                                                                                                 ี
                      ประชุมไว้ ถึงแม้ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี จะมิไดใหความหมายหรือรายละเอยดของค าว่า
                      “ความคิดเห็น” ไวโดยชัดเจน แต่ก็น่าจะพอเข้าใจได วาความคิดเห็นที่จะตองบันทึกใหปรากฏในรายงาน
                                                                                              ิ
                      การประชุมนั้น คือความคิดเห็นที่เป็นสาระส าคัญ และอยู่ในประเด็นของเรื่องที่มีการพจารณาและมีการ
                      จดบันทึกรายงานการประชุมนั่นเอง ในกรณีที่มีความเห็นเกินกว่าฝ่ายหนึ่ง บันทึกรายงานการประชุม
                      จะตองจดความเห็นและเหตุผลของแต่ละฝ่ายไวให้เป็นหลักฐานด้วย  แลจึงบันทึกถึง มติหรือเสียง
                      ขางมากของที่ประชุมไวในล าดับสุดท้าย
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44