Page 40 - 5-7meeting
P. 40

๓๓






                                วัตถุประสงค์ของรายงานการประชุม


                                 1. ในการประชุมแต่ละครั้ง ประธานในที่ประชุมมักกาหนดวัตถุประสงค์ในการประชุมไว้แน่นอน
                                                                        ื่
                                                                          ิ
                                                                                    ื่
                             ื่
                      เช่น เพอแจ้งนโยบาย เพอสั่งการ เพอขอความคิดเห็น เพอพจารณา เพอติดตามงาน เป็นต้น ผู้เขียน
                                            ื่
                                                      ื่
                      รายงานการประชุมจึงควรเขียนรายงานให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการประชุม ซึ่งแต่ละครั้งอาจมี
                      หลายวัตถุประสงค์
                                         ี
                                  2. รายละเอยดที่ต้องระบุในรายงานการประชุม  บางครั้งประธานในที่ประชุมอาจใช้ค าพดแต่
                                                                                                         ู
                      เพยงย่อ ๆ เฉพาะใจความส าคัญ เช่น ไม่ระบุหน่วยของจ านวนตัวเลข (ใช้น้ ามัน 300 ล้าน... ยอดจ่าย
                        ี
                      เพิ่มขึ้น 800 ล้าน... เป็นต้น)  ผู้เขียนรายงานควรระบุลงไปในรายงานให้ถูกต้องตามที่ละไว้  หรือบางครั้ง
                      อาจต้องมีการเท้าความเรื่องเดิมบ้าง แม้จะมิได้กล่าวโดยละเอยดในที่ประชุม ผู้เขียนรายงานควรใช้
                                                                            ี
                      ดุลยพินิจเพิ่มเติมรายละเอยดเรื่องเดิมประกอบเพื่อผู้เกี่ยวข้องสามารถค้นหาเรื่องมาศึกษาหรือท าให้เข้าใจ
                                            ี
                      เรื่องที่พิจารณาได้รวดเร็วขึ้น
                                  3. การจัดข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่  การประชุมบางครั้งอาจมีการอภิปรายเรื่องใดเรื่องหนึ่งกลับไป
                      กลับมาจากเรื่องนี้ย้อนกลับไปเรื่องนั้น  โดยไม่เป็นไปตามวาระ หน้าที่ของผู้เขียนรายงานการประชุมคือ

                      ต้องพยายามรวบรวมข้อมูลให้ได้และจัดให้อยู่ในวาระที่เหมาะสม หากไม่เข้าวาระใดเลย อาจก าหนดเป็น
                      วาระอื่นก็ได้
                                  4. ล าดับความส าคัญ โดยปกติหากมีการอภิปรายเรื่องต่าง ๆ สลับกันไป ก็ควรจะต้องล าดับ

                      ความส าคัญของแต่ละหัวข้อ แล้วเรียงล าดับให้เหมาะสม
                                  5. การร่างรายงานการประชุมเสนอประธานก่อนทุกครั้ง  โดยยึดถือรูปแบบตามที่หน่วยงาน
                      ก าหนดในกรณีที่มีขอขัดข้อง อาจขอความช่วยเหลือจากเจ้าของเรื่องที่เข้าประชุมให้ช่วยตรวจแกหรือสรุป
                                                                                                      ้
                                       ้
                      เรื่องให้เป็นครั้งคราว
                                  6. ผู้เขียนรายงานการประชุมต้องมีความรู้ความเข้าใจในรูปแบบของรายงานการประชุม

                      ขั้นตอนวิธีการในการเขียนและจัดท า ตลอดจนส านวนภาษาที่ใช้ เพอให้ได้รายงานการประชุมที่สมบูรณ์
                                                                               ื่
                      ถูกต้อง เหมาะสม


                                                                ื
                             ความส าคัญของรายงานการประชุม (คู่มอปฏิบัติงานด้านสารบรรณ ๒๕๖๐ : ๑๒๑ จากเว็บไซต์
                      http://bpcd.vec.go.th) กล่าวไว้โดยสรุปดังนี้

                             ๑. เป็นองค์ประกอบของการประชุม การประชุมอย่างเป็นทางการจะมีองค์ประกอบ ๘ ประการ

                      ได้แก  ่
                                     ๑) ประธาน

                                     ๒) องค์ประชุม
                                     ๓) เลขานุการ

                                     ๔) ญัตติ
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45