Page 22 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 22

16


               สร้างข้าวเกรียบจากแป้งสาคูบนพื้นฐานบริบทชุมชนและเชิญอาจารย์และผู้ทรงคุณวุฒิด้านอาหารมาให้ความรู้กับ
               ชุมชนและทดลองท าผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบจากแป้งสาคูสูตรต่าง ๆ

                       2.1 ร่วมกันคัดเลือกสูตรผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบจากแป้งสาคู โดยร่วมกันคัดเลือกสูตรข้าวเกรียบจากแป้ง
               สาคูน ามาปรับปรุงหรือพัฒนาให้มีความเป็นอาหารเพื่อสุขภาพยิ่งขึ้น
                       2.2 ร่วมกันก าหนดคุณลักษณะของข้าวเกรียบจากแป้งสาคูที่จะพัฒนาขึ้น ดังนี้
                       1) เป็นอาหารสมดุล (มีความสมดุลทางคุณค่าด้านโภชนาการ)

                       2) เป็นอาหารสมุนไพร (อุดมด้วยพืชผักสมุนไพรที่มีประโยชน์นานาชนิด)
                       3) เป็นอาหารสะอาดและปลอดภัย
                       4) มีรสชาติและคุณลักษณะโดยรวมเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค
                       5) ใช้วัตถุดิบอาหารพื้นบ้าน และภูมิปัญญาท้องถิ่น

                       6) ผสมผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นกับเทคโนโลยีที่เหมาะสม

                       ขั้นตอนที่ 3 การด าเนินการจัดปรุงผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบจากแป้งสาคู การด าเนินการจัดปรุงผลิตภัณฑ์
               ข้าวเกรียบจากแป้งสาคู ตามมาตรฐานหรือคุณลักษณะที่ก าหนดไว้

                       ขั้นตอนที่ 4 การประเมินการยอมรับข้าวเกรียบจากแป้งสาคูจากผู้บริโภคในชุมชน ท าการประเมินการ
               ยอมรับข้าวเกรียบจากแป้งสาคูที่พัฒนาขึ้น โดยวิธีประสาทสัมผัส (Sensory Evaluation) เพื่อประเมินความชอบ
               ในด้านคุณลักษณะโดยรวม ใช้แบบประเมินความชอบ 5–point Hedonic Scale


                       ขั้นตอนที่ 5 การประเมินคุณค่าทางโภชนาการของข้าวเกรียบจากแป้งสาคู ท าการประเมินคุณค่าทาง
               โภชนาการของข้าวเกรียบจากแป้งสาคูที่พัฒนาขึ้น

                       ขั้นตอนที่ 6 ประเมินคุณสมบัติอื่นๆ ที่ส่งเสริมสุขภาพ ท าการประเมินคุณสมบัติอื่นๆที่ส่งเสริมสุขภาพ
               นอกเหนือจาก คุณค่าทางโภชนาการพื้นฐานของข้าวเกรียบจากแป้งสาคูที่พัฒนาขึ้น

                       ขั้นตอนที่ 7 การวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลเชิงปริมาณ ท าการวิเคราะห์โดยการประมวลค่าสถิติ ได้แก่
               ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพ จะท าการวิเคราะห์
               โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis Technique)


               แนวปฏิบัติที่เกิดจากการจัดการความรู้“ชุมชนนักปฏิบัติ สู่การจัดการความรู้ ในศตวรรษ ที่ 21

                       การจัดนักศึกษาลงพื้นที่ ณ สถานประกอบการจริง เพื่อศึกษาปัญหา ณ สถานประกอบการ ตาม
               กระบวนการ  PDCA และใช้ปัญหาเป็นฐานในการจัดการความรู้  โดยสถานประกอบการชุมชนมีปัญหาเรื่องช่อง
               ทางการจัดจ าหน่ายโดยทีมอาจารย์และนักศึกษาได้จัดการด าเนินการให้ความรู้ช่องทางการจัดจ าหน่ายด้วยวิธีการ
               ที่สะดวก ประหยัดและรวดเร็ว โดยเน้นการให้ความรู้ทางการตลาดดังต่อไปนี้

                       1. ตลาดเป้าหมาย โดยชุมชนต้องศึกษาความต้องการของลูกค้าเป้าหมาย เพื่อจะได้เลือกสถานที่จ าหน่าย
               ที่ตรงกับความต้องการของตลาดหรือกลุ่มลูกค้าการพัฒนาช่องทางการจัดจ าหน่ายให้สนองกับความต้องการของ
               กลุ่มเป้าหมาย
                       2. วิธีการจัดจ าหน่าย การจ าหน่ายโดยตรงจากผู้ผลิตไปสู่ผู้บริโภค ย่อมต้องการบรรจุภัณฑ์ลักษณะหนึ่ง

               แต่หากจ าหน่ายผ่านคนกลาง เป็นคนกลางประเภทใด มีวิธีการซื้อของเข้าร้านอย่างไร วางขายสินค้าอย่างไร
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27