Page 23 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 23

17


               เพราะพฤติกรรมของร้านค้าย่อมมีอิทธิพลต่อโอกาสการขายของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ รวมทั้งพิจารณาถึงผลิตภัณฑ์ของ
               คู่แข่งขันที่จ าหน่ายในแหล่งเดียวกัน

                       4. การขนส่ง มีหลายวิธีและใช้พาหนะต่างกัน รวมทั้งระยะทางในการขนส่ง ความทนทานและความ
               แข็งแรงของบรรจุภัณฑ์ ควรค านึงถึงวิธีที่จะใช้ในการขนส่งก็เพื่อพิจารณาเปรียบเทียบให้เกิดผลเสียน้อยที่สุด
               รวมถึงความประหยัดและปัจจัยเรื่องสภาพดินฟ้าอากาศในปัจจุบันนิยมการขนส่งด้วยระบบตู้บรรทุกส าเร็จรูป
                       5. การเก็บรักษา (Storage) การเลือกบรรจุภัณฑ์จะต้องพิจารณาถึงวิธีการเก็บรักษา สภาพของสถานที่

               เก็บรักษา รวมทั้งวิธีการเคลื่อนย้ายในสถานที่เก็บรักษา

               แนวปฏิบัติที่ดี























                                   ภาพที่ 1 แนวคิดการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าเกษตรและอาหาร

                  ที่มา: The Food and Agriculture Organization of the United Nations (FAO) and SINER-GI. (2010)

                       ขั้นตอนที่  1  การค้นหาราก  (Identification)  โดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในชุมชน  เป็นการ
               ค้นหาสินค้าท้องถิ่นและทรัพยากรในชุมชนเพื่อน าไปพัฒนาต่อยอดสร้างรายได้สู่ชุมชน ซึ่งจะต้องเป็นกิจกรรมของ

               ชุมชนที่ประกอบไปด้วยสมาชิกจากตลอดห่วงโซ่อุปทาน ตั้งแต่เกษตรกร ผู้แปรรูปสินค้าผู้จัดจ าหน่ายสินค้าทั้งใน
               และนอกชุมชน จนถึงผู้บริโภค ซึ่งรวมไปถึง ประชาชนผู้อยู่อาศัยในท้องถิ่นในฐานะผู้บริโภคและผู้น าเอาผลิตผลไป
               ใช้ในการค้าอีกต่อหนึ่ง โดยมีเป้าประสงค์เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วม ความตระหนัก การรับรู้ และความภาคภูมิใจใน
               คุณค่าของวัฒนธรรมทรัพยากรธรรมชาติที่มีเฉพาะในพื้นที่ของชุมชนซึ่งท าให้มีลักษณะเฉพาะโดดเด่น


                        ขั้นตอนที่ 2 การก าหนดคุณสมบัติของสินค้า (Product qualification)เป็นขั้นตอนที่ท าให้ทุกคนใน
               ห่วงโซ่มูลค่าเห็นถึงคุณค่าของผลิตผลท้องถิ่น โดยคุณสมบัติที่ก าหนดร่วมกันจะต้องมีความชัดเจน เพื่อให้ทุกคนใน
               ห่วงโซ่มูลค่าเห็นภาพที่ตรงกัน  มีการก าหนดนิยามของลักษณะของพื้นที่ผลิต  ขั้นตอนและวิธีการผลิต  รวมถึง
               ลักษณะของผลิตภัณฑ์ และเครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบคุณภาพและรักษาคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ และสิ่งบ่งชี้ทาง
               ภูมิศาสตร์  (GI)  ซึ่งเป็นอีกหนึ่งเครื่องมือในการประชาสัมพันธ์และส่งเสริมให้เห็นถึงความเชื่อมโยงระหว่าง

               ผลิตภัณฑ์ พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ และคุณสมบัติเฉพาะพื้นที่ที่เป็นเอกลักษณ์ไม่มีใครเหมือนในการก าหนดคุณสมบัติ
               ของสินค้า ผู้ผลิตในท้องถิ่นจะต้องรวมตัวกันเพื่อสร้างกฎเกณฑ์ข้อปฏิบัติ (Code of Practice) ที่จะท าให้บรรลุ
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28