Page 388 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 388

382


               ร่วมใจของบุคลากรและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่เล็งเห็นทิศทางและเป้าหมายความส าเร็จในระดับที่
               ใกล้เคียงกัน อีกทั้งการที่วิทยาลัยช่างศิลปมีบุคลากรผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญสูงในศาสตร์

               ที่ตนเองปฏิบัติอยู่อย่างหลากหลายและมีลักษณะเฉพาะบุคคลและวิธีเฉพาะในการสาธิต  มีขั้นตอนและวิธีการ
               ที่ชัดเจนง่ายต่อการเข้าใจ มีเทคนิคในการอธิบายที่สัมพันธ์กับผู้เรียนแต่ละคน ท าให้การจัดการความรู้สามารถ
               จัดระบบทั้งภาพ เสียง เนื้อหา ขั้นตอนได้ง่ายอย่างเป็นรูปธรรม สามารถน าไปใช้ได้จริง  กระบวนดังกล่าวได้
               แสดงถึงองค์ความรู้อันทรงคุณค่าอย่างยิ่ง รวมถึงปัจจัยส าคัญที่ท าให้การเผยแพร่องค์ความรู้มีประสิทธิมาก

               ยิ่งขึ้นคือเทคนิคและวิธีการเฉพาะด้าน เช่นโปรแกรม สื่อ เทคโลโนยีออนไลน์ เช่น LINE  FACEBOOK  และ
               เครื่องมือในการบันทึกภาพเสียงที่มีศักยภาพสูงในการน าเสนอที่น าองค์ความรู้ที่ยากต่อการอธิบายและซับซ้อน
               ให้เป็นสิ่งที่เข้าใจง่าย และน่าสนใจ ด้วยการออกแบบระบบรูปภาพกราฟิค ที่มีสีสัน ทันสมัย มีเนื้อหาที่น่า
               ติดตาม สะดวกต่อการน าไปใช้ในการเรียนรู้ได้จริง

               ปัญหา  อุปสรรคและแนวทางแก้ไข


                           การจัดการความรู้มีกรรมวิธีและขั้นตอนที่ต้องอาศัยเงื่อนไขในลักษณะสัมพันธ์กัน ทั้งเวลา บุคลากร
               งบประมาณ เทคโนโลยี สถานที่ รวมถึงการสร้างบรรยากาศในลักษณะที่เป็นธรรมชาติ เพื่อให้เกิดการเล่า
               ถ่ายทอดประสบการณ์  ความรู้ ความเชี่ยวชาญเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ   เงื่อนไขที่กล่าวมาข้างต้นมักจะ
               ไม่สัมพันธ์กันทั้งเวลา งบประมาณ และเทคโนโลยีที่จ ากัด ท าให้การสร้างบรรยากาศในการจัดการความรู้

               เป็นไปเพื่อตอบโจทย์ของภาระหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย  มากกว่าจะเป็นการจัดการความรู้ที่เกิดจากความ
               จ าเป็นขององค์กร เป็นความจ าเป็นในการเรียนรู้หรือการสร้างพัฒนาความรู้ขึ้นใหม่ในลักษณะวงจรของความรู้
               ที่มีศักยภาพของการจัดการความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อบุคลากร องค์กร และสังคม จึงเป็นหน้าที่และความ

               รับผิดชอบร่วมกันของทุกฝ่ายในการสร้างความสัมพันธ์และความสมดุลย์ที่กล่าวมาข้างต้นให้เกิดประโยชน์ต่อ
               การด าเนินการให้มากที่สุด

               สรุป

                          จากการจัดการความรู้ทั้ง 7 ขั้นตอนพบว่า กิจกรรมของการจัดการความรู้น ามาซึ่งความร่วมมือร่วมใจ
               ของบุคลากรในองค์กรในทุกระดับทั้งด้านอายุ ประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญ  เป็นการเล็งเห็นทิศทางและ

               เป้าหมายความส าเร็จในระดับที่ใกล้เคียงกัน  ทั้งนี้อาจเป็นเพราะบุคลากรในองค์กรมองเห็นว่าการสอนศิลปะ
               ด้วยวิธีการสาธิตเป็นการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพและธรรมชาติของผู้เรียน  เน้น
               ผู้เรียนเป็นส าคัญหรือเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้   และเมื่อผู้เรียนมีศักยภาพก็เป็นเครื่องแสดงถึง
               ประสิทธิภาพที่สัมพันธ์กันของระบบการเรียนการสอน บุคลากรและองค์กร จึงอาจกล่าวได้ว่าการที่

               คณะกรรมการและบุคลากรในองค์กรมีวิสัยทัศน์ร่วมกันเป็นความส าเร็จในระดับเบื้องต้นของการจัดการความรู้
               ในครั้งนี้

                         ความส าเร็จขั้นต่อไปคือกรรมวิธี ที่เกิดขึ้นใหม่ในการจัดการความรู้ เช่น การใช้เทคโนโลยีในการสร้าง
               และแสวงหาความรู้ เช่นการจัดกลุ่ม LINE โดยให้คณะกรรมการสมัครเป็นสมาชิกกลุ่ม  และแบ่งปันความรู้ ทั้ง

               ทฤษฎี การปฏิบัติ การสาธิตทั้งภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว  เพื่อให้สามารถแสดงความคิดเห็น เล่าเรื่องเล่า
               ประสบการณ์ ได้ในอีกมิติหนึ่งนอกเหนือจากการประชุมกันในแบบปกติที่มีอยู่แล้ว

                        จากการเริ่มต้นวิธีการที่ผสมผสานกันทั้งสองรูปแบบพบว่าเกิดการเล่าข้อมูลที่มีความหลากลายเพิ่มมาก
               ขึ้นทั้งในด้านทฤษฎี ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว รวมถึงประสบการณ์ที่ยากแก่การถ่ายทอดบางเรื่อง  มักจะ
               ไม่เกิดขึ้นในวิธีปกติ  ทั้งนี้อาจเป็นเพราะวิธีการสร้างเครื่องมือการจัดการความรู้บางอย่างอาจจะสัมพันธ์กันกับ
   383   384   385   386   387   388   389   390   391   392   393