Page 393 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 393

387


               บทน า

                      สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
               มงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง มีหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารจัดการด้านการเรียนการสอน ประสานงานและ
               บูรณาการวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปและหมวดวิชาชีพพื้นฐานในกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและ
               กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อมุ่งพัฒนาผู้เรียนในการแสวงหาความรู้จากธรรมชาติ  เข้าใจในความหมายและ

               ความส าคัญของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่มีผลต่อวิถีชีวิตและความคิด
               ของมนุษย์ มุ่งพัฒนาผู้เรียนในด้านกระบวนการคิด การคิดวิเคราะห์ การให้เหตุผลและการแก้ปัญหา มีนิสัยใฝ่รู้
               และมีความคิดสร้างสรรค์ ให้สอดคล้องตามเกณฑ์มาตรฐานระดับปริญญาตรีของส านักงานคณะกรรมการการ
               อุดมศึกษา พระพรหมคุณาภรณ์  (ป.อ.ปยุตโต) (2550) ได้ให้ค าจ ากัดความว่า วิชาศึกษาทั่วไปมีจุดมุ่งหมายอยู่ที่

               การสร้างบัณฑิต ส่วนวิชาชีพเป็นเหมือนการสร้างเครื่องมือให้บัณฑิต วิชาศึกษาทั่วไปมีหน้าที่ท าคนให้เป็นบัณฑิต
               หรือสร้างบัณฑิต มีบทบาทโดยตรงในการพัฒนาคนเพื่อให้บุคคลแต่ละคนเป็นคนที่สมบูรณ์ มีชีวิตที่ดีงาม
               ประณีต ประเสริฐสมกับความเป็นมนุษย์ หรืออาจจะเรียกว่าเป็นคนเต็มคน มีชีวิตที่มีอิสรภาพและมีความสุข
               การศึกษามีหน้าที่พัฒนาคนในสองด้าน กล่าวคือ 1) การพัฒนาตัวมนุษย์ให้มีความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีชีวิตที่ดี

               งาม มีความสุข มีอิสรภาพ และ 2) การพัฒนาคนในฐานะที่เป็นทรัพยากรมนุษย์ คือเป็นทุนที่จะน าไปใช้ในการ
               พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้นรายวิชาศึกษาทั่วไปจึงมีความส าคัญอย่างยิ่งซึ่งท่านถึงกับกล่าวว่า “จะสอนวิชา
               เฉพาะวิชาชีพให้ใช้ผู้เชี่ยวชาญ แต่จะสอนวิชาพื้นฐานต้องใช้นักปราชญ์”


                      จากการจัดการเรียนการสอนในกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ของสาขาวิทยาศาสตร์กายภาพ
               ในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาพบว่า นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาพื้นฐานกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์
               และคณิตศาสตร์ค่อนข้างต่ า ซึ่งเป็นปัจจัยส าคัญที่ส่งผลกระทบกับการเรียนการสอนในกลุ่มวิชาชีพเฉพาะของ

               นักศึกษา และจากการสอบถามนักศึกษาถึงสาเหตุที่ได้คะแนนสอบในรายวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์อยู่
               ในระดับต่ าพบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่อ่านหนังสือไม่ทัน มีเวลาทบทวนบทเรียนน้อย และไม่สามารถสรุป
               ประเด็นส าคัญและค าส าคัญของเนื้อหาบทเรียนในแต่ละหัวข้อได้ ดังนั้นคณาจารย์ในสาขาวิทยาศาสตร์
               กายภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง

               ซึ่งรับผิดชอบ การเรียนการสอนรายวิชาในกลุ่มวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ได้ประชุมร่วมกันเพื่อหาแนวทาง
               และวิธีการแก้ไขปัญหาดังกล่าว เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาทางการเรียนและมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่ม
               วิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ในระดับที่สูงขึ้น โดยน าแผนที่ความคิดมาใช้ร่วมกับการจัดการเรียนการสอน
               รายวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์


                      แผนที่ความคิด หรือ Mind  Map เป็นการน าทฤษฎีที่เกี่ยวกับสมองมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับ
               กระบวนการเรียนรู้ของมนุษย์ ในการคิดวิเคราะห์ค า ภาษา สัญลักษณ์ ระบบ ล าดับ การค านวณ ความเป็น
               เหตุเป็นผล ความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการ โดยกระบวนการที่เชื่อมโยงกัน (กระทรวงศึกษาธิการ, 2552)

               แผนที่ความคิดถูกคิดค้นโดยโทนี บูซาน (Buzan, 1997) นักจิตวิทยาชาวอังกฤษเป็นผู้คิดริเริ่มน าเอาความรู้
               เรื่องสมองมาปรับใช้กับการเรียนรู้ โดยพัฒนาจากการจดบันทึกแบบเดิมที่เขียนเป็นตัวอักษรเรียงกันในแต่ละ
               บรรทัด หรือเป็นแถวด้วยปากกาหรือดินสอสีเดียวกัน มาเป็นการบันทึกด้วยค า ภาพ สัญลักษณ์แบบแผ่รัศมีออ
               กรอบๆ ศูนย์กลางเหมือนกับการแตกแขนงกิ่งก้านของต้นไม้หรือการแตกของเซลล์สมอง แผนที่ความคิด

               สามารถน าไปใช้กับกิจกรรมอื่นๆ เช่น การวางแผน การตัดสินใจ การแก้ปัญหา การน าเสนองาน และการช่วย
               จ า เป็นต้น
   388   389   390   391   392   393   394   395   396   397   398