Page 137 - B.B.A.(Marketing)
P. 137

114


                  5. หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

                         หลักสูตรมีการบริหารจัดการเพอให้สอดคล้องกับเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
                                                     ื่
                  ระดับหลักสูตร พ.ศ. 2557 ในประเด็นส าคัญ ดังนี้

                     5.1 สาระรายวิชาในหลักสูตร

                         หลักสูตรมีการออกแบบสาระรายวิชาโดยการก ากับ ติดตาม ควบคุม การจัดท ารายวิชาต่างๆ ให้มี

                  เนื้อหาที่ทันสมัย และสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน ก้าวทันความทันสมัยในสาขาวิชา
                  การตลาดที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มีการบริหารจัดการรายวิชาต่าง ๆ การเปิด-ปิดรายวิชา ให้
                  สอดคล้องกับแผนการเรียนที่ก าหนด สอดคล้องกับความต้องการของนักศึกษา ผู้ใช้บัณฑิตและ

                  ตลาดแรงงาน โดยเน้นการสอนที่ผู้เรียนเป็นส าคัญ กระบวนการที่ด าเนินการครอบคลุม (1) การออกแบบ
                  หลักสูตรและสาระรายวิชา และ (2) การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขาวิชา

                  การตลาด ทั้งนี้หลักสูตรโดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ต้องมีการวิเคราะห์ข้อมูลการเรียนการสอนทุก
                  รายวิชา จากรายงานผลการด าเนินการรายวิชา (มคอ.5) ทุกภาคการศึกษา เพอหาประเด็นที่มีนัยส าคัญต่อ
                                                                                  ื่
                  การออกแบบรายวิชา ให้มีเนื้อหาสาระรายวิชาที่ทันสมัย เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของโลกและ
                  สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน เป็นประจ าทุกปีการศึกษาอย่างต่อเนื่อง โดยศึกษาข้อมูลจาก

                  ความคิดเห็นของผู้สอนและนักศึกษาที่รายงานใน มคอ.5 ซึ่งจะเป็นนัยส าคัญที่ต้องน ามาเขียนในรายงานผล
                                                           ื่
                                                                                ั
                  การด าเนินการของหลักสูตร (มคอ.7) ต่อไป เพอปรับปรุง ควบคุมและพฒนา ในประเด็นการออกแบบ
                  สาระรายวิชาในหลักสูตรทุกปีการศึกษาอย่างต่อเนื่อง

                     5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน

                         หลักสูตรมีระบบและกลไกในการก าหนดผู้สอนในแต่ละรายวิชา โดยค านึงถึงความรู้ ทักษะ และ
                  ความเชี่ยวชาญในรายวิชาที่สอน และเป็นความรู้ที่ต้องทันสมัยของผู้สอน ที่ถูกมอบหมายให้รับผิดชอบใน

                  รายวิชาที่สอน เพื่อให้นักศึกษามีโอกาสได้เรียนรู้จากผู้สอนที่มีประสบการณ์ และนักศึกษาได้รับการเรียนรู้
                  จากผู้รู้จริง ส าหรับกระบวนการเรียนการสอน หลักสูตรต้องมีการด าเนินการให้ครอบคลุมประเด็น ดังนี้ (1)
                  การก าหนดผู้สอน (2) การก ากับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดท าแผนการเรียน (3) การจัดการเรียน

                  การสอนที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม และการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม
                  ทั้งนี้หลักสูตรโดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ต้องใช้กระบวนการเรียนการสอนที่ใช้สื่อเทคโนโลยี

                  สมัยใหม่ สอดคล้องกับทักษะในศตวรรษที่ 21  โดยเฉพาะทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผู้สอนมีหน้าที่
                  อ านวยความสะดวก ส่งเสริม สนับสนุนให้เกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษา มีกลไกในการส่งเสริม ก ากับ

                  ติดตาม ให้ผู้สอนมีความรู้ ความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในการเขียน มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างมีคุณภาพ รวมทั้ง
                  การก าหนดกิจกรรมในรายวิชาที่สามารถบูรณาการการเรียนการสอนกับงานวิจัย และ/หรือการบริการ

                  วิชาการแก่สังคม การท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม

                     5.3 การประเมินผู้เรียน

                         หลักสูตรต้องให้ความส าคัญกับการก าหนดเกณฑ์การประเมิน วิธีการประเมิน เครื่องมือประเมินที่มี
                  คุณภาพ ที่ใช้ในระบบการประเมินผู้เรียน รวมทั้งวิธีการให้เกรดที่สะท้อนถึงผลลัพธ์การเรียนรู้ได้อย่าง

                  เหมาะสม มีวิธีการประเมินที่หลากหลาย ให้ผลการประเมินที่สะท้อนความสามารถในการปฏิบัติงานจริง



                    หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2565)            คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142