Page 10 - schoolmentor2-67
P. 10
9
องค์ประกอบของเกมที่นิยมใช้กันมากที่สุด คือ เหรียญตราสัญลักษณ์ (Badges) หรือเหรียญแห่ง
ความส าเร็จ (Badges achievement) และคะแนนสะสม (Points) (Khaleel, Ashaari, & Wook,
2019) ดังตารางที่ 2
ตารางที่ 2 กลไกของเกมและพลวัตของเกม
กลไกของเกม (Game mechanics) พลวัตของเกม (Game dynamic)
คะแนนสะสม (Points) ความต้องการได้รับรางวัล (Rewards)
ระดับขั้น (Levels) ความต้องการได้รับการยอมรับ (status)
เหรียญแห่งความส าเร็จ (Badges achievement) ความต้องการประสบผลส าเร็จ
(Achievement)
สินค้าเสมือน (Virtual goods) ความเป็นตัวตนของตนเอง (Self expression)
กระดานผู้น า (Leaderboards) ความต้องการแข่งขัน (Competition)
เพื่อนร่วมทีม (Teammate) ความเอื้ออาทร (Altruism)
ซึ่งสามารถสรุปกลไกของเกมที่เป็นสถานการณ์ที่การสร้างความสนใจและสร้างแรงจูงใจใน
การเรียนและพลวัตของเกมที่แสดงออกถึงพฤติกรรมที่ได้รับกลไกของเกมในการเรียนได้ดังนี้
1. กลไกของเกม (Game mechanics) เป็นกฎเกณฑ์และการโต้ตอบต่างๆ ที่จะท าให้เกิด
ความสนุกสนานเกิดขึ้น ซึ่งสามารถน าไปใช้กับสิ่งที่ไม่ใช่เกม ดังตารางที่ 3
ตารางที่ 3 กลไกของเกม
กลไกของเกม รายละเอียด
คะแนนสะสม เป็นสิ่งที่วัดพฤติกรรมจากการท าภารกิจที่ได้รับมอบหมายได้ส าเร็จ
ิ่
ระดับขั้น มักพบได้ในเกมเกือบทุกเกม เป็นการเพมระดับความยากขึ้นเรื่อย ๆ เป็นสิ่ง
ที่วัดระดับขั้นความยากหนึ่งไประดับขั้นที่สูงขึ้น ซึ่งต้องใช้ความพยายามและ
ความอดทนเพื่อให้บรรลุระดับขั้นที่ก าหนดไว้
เหรียญแห่ง มักพบใน ไอคอน (Icons) หรือ โลโก้ (Logos) เป็นเสมือนการมอบรางวัล
ความส าเร็จ ให้กับผู้เรียนเป็นระยะ ๆ เมื่อผู้เรียนบรรลุเป้าหมายย่อย ๆ ท าให้การเรียนไม่
ื่
น่าเบื่อ เพราะผู้เรียนจะเจอเนื้อหาใหม่ตลอด เพอให้ได้มาซึ่งเหรียญแห่ง
ความส าเร็จ ในการได้มาซึ่งเหรียญแห่งความส าเร็จ เป็นเสมือนสัญลักษณ์
คู่มือกิจกรรมการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบเกมมิฟิเคชันเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการแก้ปัญหาและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน