Page 8 - schoolmentor2-67
P. 8
7
หลักการขับเคลื่อนของเกมมิฟิเคชัน
ื่
ิ
เกมมิฟเคชัน เป็นการน ากลไกของเกมมาประยุกต์ใช้ในบริบทอน ๆ ที่ไม่ใช่การเล่นเกม ใน
การกระตุ้นเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียน (Huang, Hew, & Lo, 2018) สร้างแรงจูงใจและการมี
ื่
ส่วนร่วมทางโลกเสมือนเพอให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่ก าหนดไว้ (Kapp, 2012) การศึกษาเอกสารที่
ิ
เกี่ยวกับเกมมิฟเคชันครั้งแรกเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 2008 โดยการน ากลไกของเกมมาขยายแนวคิดและ
ก าหนดไว้ (Miller, 2013) ดังนี้
1. กระบวนการใช้แนวคิดของเกมและกลไกของเกมในการแก้ปัญหา
2. กลไกของเกม พลวัตของเกม และกรอบแนวคิดในการส่งเสริมพฤติกรรมที่ต้องการ
3. แนวโน้มของการน ากลไกของเกมโดยจ าลองสภาพแวดล้อมที่เสมือนเกมแต่ไม่ใช่การเล่น
เกม ในด้านต่าง ๆ เช่น นวัตกรรมทางการตลาด การฝึกอบรม ผลการปฏิบัติงานของพนักงาน สุขภาพ
และการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
4. เกมมิฟเคชัน คือ การน ากลไกของเกม องค์ประกอบของเกม สุนทรียภาพและแนวคิด
ิ
เกี่ยวกับเกมเพื่อสร้างแรงจูงใจในการส่งเสริมการเรียนรู้และแก้ปัญหา
ความแตกต่างระหว่างเกม (Game) กับ การเรียนรู้ผ่านการเล่นเกม (Game-based
Learning) กับ เกมมิฟิเคชัน (Gamification) โดยมีรายละเอียดดังตารางที่ 1 ดังนี้
ตารางที่ 1 ความแตกต่างระหว่างเกม การเรียนรู้ผ่านการเล่นเกม และเกมมิฟิเคชัน
การเรียนรู้ผ่านการเล่มเกม
เกม เกมมิฟิเคชัน
รายละเอียด (Game-based
(Game) (Gamification)
Learning)
วัตถุประสงค์ เพื่อความบันเทิงความ เพื่อการเรียนรู้ผ่านการเล่น เพื่อกระตุ้นการเรียนรู้
สนุกสนานหรือไม่มี เกม โดยให้ผู้เรียนมีส่วน
วัตถุประสงค์เพื่อการ ร่วม อาจใช้เพียงการ
เรียนรู้ สะสมคะแนนหรือ
รางวัล
ผู้ชนะ/ผู้แพ้ ผู้ชนะหรือผู้แพ้เป็นส่วน ผู้ชนะหรือผู้แพ้จะมีหรือไม่ก็ ผู้ชนะหรือผู้แพ้จะมี
หนึ่งของเกม ได้ เนื่องจากมีวัตถุประสงค์ หรือไม่ก็ได้ เนื่องจาก
ื่
มีวัตถุประสงค์เพอ
คู่มือกิจกรรมการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบเกมมิฟิเคชันเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการแก้ปัญหาและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน